บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2018

TCP/IP

รูปภาพ
TCP/IP ชุด  TCP/IP ของโปรโตคอลสามารถเข้าใจได้ในรูปของ เลเยอร์ (หรือระดับ) รูปภาพนี้แสดงเลเยอร์ของโปรโตคอล  TCP/IP  จากด้านบนสุด ประกอบด้วย Application Layer, Transport Layer, Network Layer, Network Interface Layer และ Hardware รูปที่ 1. ชุด TCP/IP ของโปรโตคอล TCP/IP กำหนดวิธีการย้ายข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับอย่างระมัดระวัง อันดับแรก แอ็พพลิเคชันโปรแกรมส่งข้อความ หรือสตรีม ข้อมูลของ Internet Transport Layer Protocols หนึน่ง ซึ่งอาจเป็น  User Datagram Protocol  ( UDP ) หรือ  Transmission Control Protocol  ( TCP ) โปรโตคอลเหล่านี้จะได้รับข้อมูลจาก แอ็พพลิเคชัน จากนั้นแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนย่อยๆ เรียกว่า  แพ็กเก็ต  เพิ่มแอดเดรสปลายทาง และจากนั้นส่งแพ็กเก็ตไปยัง เลเยอร์โปรโตคอลถัดไป คือเลเยอร์ Internet Network เลเยอร์ Internet Network layer รวมแพ็กเก็ตให้อยู่ในดาตาแกรม  Internet Protocol  ( IP ) วางในส่วนหัวและส่วนท้ายของ ดาตาแกรม ตัดสินใจว่าจะส่งดาตาแกรมไปที่ใด (ไปยังปลายทางโดยตรง หรือไปยังเกตเวย์) และส่งดาตาแกรมต่อไปยัง เลเยอ...

ARP

รูปภาพ
  Address Resolution Protocol   หรือเราเรียกย่อๆว่า   ARP   สวัสดีครับ ใบบทความนี้เราจะมาเรียนรู้เรื่อง  Address Resolution Protocol  หรือเราเรียกย่อๆว่า  ARP  นั่นเองครับ ARP  จะทำงานเมื่อมีการติดต่อสื่อสารบน LAN (Ethernet) ระหว่างเครื่องต้นทาง และ เครื่องปลายทาง  ใช้ค้นหาและจับคู่ระหว่าง MAC Address กับ IP Address เพื่อให้ส่งถึงปลายทางในระดับ L2 ตาม OSI Model ได้ ลองมาดูเพื่อทำความเข้าใจกันต่อนะครับ เมื่อเครื่อง NB1 ต้องการส่งข้อมูลหาเครื่อง NB2 จะเกิดการทำงานตาม OSI Model ดังนี้ (สมมุติว่าผมทำการ Ping จาก NB1 ไป NB2) ที่ Layer 3 เครื่อง NB1 จะสร้าง IP Packet ขึ้นมา โดยใน IP Packet จะระบุ Source IP address และ Destination IP address เพื่อใช้ในการส่งข้อมูล (Data) IP Packet ของ NB1 จะถูก Encapsulation ลงมาที่ Layer 2 คือ Ethernet Frame โดยใน Ethernet Frame จะระบุ Source MAC address และ Destination MAC address จากรูป เป็น Ethernet Frame ของเครื่อง NB1 จะเห็นว่า เครื่อง NB1 จะไม่มีข้อมูล Destination MAC ad...

HTTP

ข้อมูลสรุปนี้ไม่พร้อมใช้งาน โปรด คลิกที่นี่เพื่อดูโพสต์

UDP

รูปภาพ
User Datagram Protocol (UDP)             User Datagram Protocol       UDP   เป็นการส่งข้อมูลที่ไม่มีการยืนยันการรับส่งข้อมูล คือผู้ส่งไม่สามารถรู้ได้ว่าข้อมูลได้ถึงผู้รับแล้วหรือไม่ เราจะต้องเขียนการตรวจสอบข้อมูลเอาเอง เช่น ถ้าผมส่งข้อมูลไป ถ้าฝั่งที่รับข้อมูลได้รับข้อมูลแล้ว ก็ให้ตอบกลับมาให้ผม ผมก็ทราบแล้วว่าข้อมูลไปถึง แต่ถ้าไม่มีการตอบกลับภายในระยะเวลาที่ผมกำหนด ก็ให้แจ้งว่าผู้รับไม่ได้รับข้อความ     UDP อยู่ใน  Transport  layer (ทรานสโพท เลเยอร์)  ทำหน้าที่จัดการและควบคุมการรับส่งข้อมูล แต่ไม่มีกลไกความคุมการรับ ส่งข้อมูลให้มีเสถียรภาพและเชื่อถือได้ unreliable (อันรีไลเบิ้ล) และ connectionless (คอนเนคชั่นเลทด์) โดยปล่อยให้เป็นหน้าที่ของแอพพลิเคชั่นเลเยอร์ แต่ UDP มีข้อได้เปรียบในการส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ unicast (ยูนิคาสต์), multicast (มัลติคาสต์) และ broadcast (บรอดคาสต์) อีกทั้งยังทำการติดต่อสื่อสารได้เร็วกว่า  TCP  (ที ซี พี) เนื่องจาก TCP ต้องเสีย overhead (โอเวอร์เฮด) ให้กับขั้นตอ...

NetBIOS

รูปภาพ
 NetBIOS     สำหรับผู้ใช้ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์  โดยเฉพาะผู้ดูแลระบบเครือข่ายขององค์กร อาจจะเคยได้ยินคำว่า NetBI OS  กันมาบ้าง แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อยที่เกิดความสับสนหรือเข้าใจผิดเกี่ยวกับคำนี้ เนื่องจากมีการนำ NetBIOS ไปใช้อย่างหลากหลายแต่กลับไม่มีการควบคุมที่เป็นมาตรฐาน ซึ่งวันนี้เราจะมาทำความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับคำศัพท์คำนี้กัน NetBIOS คืออะไร? NetBIOS ย่อมาจากคำว่า Network Basic Input / Output System เป็นโปรแกรมที่ยอมให้มีการประยุกต์บนคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันให้สามารถติดต่อกันได้ผ่านเครือข่าย LAN ถูกพัฒนาเพื่อใช้กับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกโดย IBM ต่อมาบริษัท Microsoft ได้นำมาพัฒนาต่อเพื่อให้ใช้งานกับเครือข่ายแบบ Etlernet, Token ring และ Window NT แต่ไม่รองรับการทำงานบนระบบ routing ดังนั้นจึงต้องใช้โปรโตคอล TCP ในการทำงานบนเครือข่ายแบบ WAN การทำงานของ NetBIOS คือรับคำขอจาก NCB (Network Control Block) เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของข่าวสารและปลายทาง โดยจะไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับรายละเอียดภายในเครือข่าย รวมถึงการแก้ไขข้อผิดพล...

IPX/SPX

รูปภาพ
     IPX/SPX (Internet Packet Exchange)      เป็นโปรโตคอลที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อนำไปใช้กับระบบเครือข่ายของ  Netware  โปรโตคอลนี้มีความสามารถในการหาเส้นทาง ได้ แต่ก็ไม่ดีเท่ากับ  TCP/IP  ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับเครือข่ายขนาดเล็กถึงระดับกลางเท่านั้น ปัจจุบัน  Netware  ได้พัฒนาความ สามารถจน สามารถรองรับเครือข่ายขนาดใหญ่ และมีโปรโตคอลให้เลือกใช้หลากหลายขึ้น แหล่งที่มาของข้อมูล: https://www.comgeeks.net/ipx/

IPX/SPX

รูปภาพ
IPX     เป็นโปรโตคอลชนิดหนึ่งที่ทำงานอยู่ใน คอมพิวเตอร์  โดยส่วนมากแล้วจะทำงานควบคู่กับโปรโตคอล SPX โดยเราจะเห็นการเขียน IPX/SPX อยู่เสมอ ก่อนที่เราจะรู้จักโปรโตคอลตัวนี้ให้ดีเสียก่อนเราควรรู้จักก่อนว่าโปรโตคอลมีความสำคัญและมีหน้าที่อย่างไรในระบบเน็ตเวิร์ค IPX คืออะไร  ใ นการสื่อสารของระหว่างสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีภาษาที่ใช้สื่อสารกันเฉพาะกลุ่มอยู่แล้ว ทั้งภาษาพูด และภาษากาย ซึ่งการพูดคุกันนั้นเราจะต้องใช้ภาษาเดียวกันในการพูด แต่ถ้าคนที่คุยกันคนละภาษามาคุยกัน ก็ต้องใช้เครื่องแปลภาษาให้เป็นภาษากลเพื่อให้คนทั้งสองพูดคุยกัน เช่นกันโปรโตคอลก็เหมือนกับเครื่องแปลภาษาที่จะคอยแปลภาษาให้เป็นภาษากลางให้คอมพิวเตอร์ทุกตัวในโลกนี้สามารถติดต่อกันได้แม้ว่าจะใช้ภาษาในการติดต่อกันคนละภาษาก็ตาม โดยหนึ่งในโปรโตคอลที่นิยมใช้งานกันมากตัวหนึ่งก็คือ IPX/SPX ตัวอย่างการต่อพ่วงแบบ IPX/SPX IPX/SPX ย่อมากจาก  Internet work Packet Exchange (IPX) และ Sequenced Packet Exchange (SPX) โดยโปรโตคอลทั้งสองตัวนี้จะทำงานประสานกันทุกครั้ง ซึ่งโปรโตคอลทั้งสองตัวนี้ได้รับกา...

Protocal ที่ทำงานใน OSI Model layer

 OSI Model Layer   Protocol  1.Physical Layer CAT5                               CAT6                               RJ-45 cable  2.Data Link Layer Ethernet  Token  Ring   IEEE 802.3/202.2 Frame Relay  3.Network Layer OSPF   (Open Shortest Path First) EIGRP (Enhanced Interior Gateway Routing Protocol) ICMP ( Control Message Protocol ) ARP (Address Resolution Protocol)  4.Transport Layer TCP : (Transmission Control Protocol) UDP : (User Datagram Protocol)  5.Session Layer   Windows socket Netbios   SQL  NFS  6.Presenttation Layer J...